นโยบายสาธารณะและการวางแผน
Public Policy and planning
อาจารย์สุรชัย เจนประโคน
ศศ0213 3(3 – 0 – 6)
วัตถุประสงค์
1.มีความรู้ ความเข้าใจความหมาย ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะ
2.มีความเข้าใจแนวความคิดและกระบวนการนโยบายสาธารณะ ด้านการกำหนดนโยบาย การนำนโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย
3.สามารถวิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยที่เกี่ยวข้องการกำหนดนโยบาย การวิเคราะห์นโยบาย การนำนโยบายไปปฎิบัติ
4.มีความรู้ความเข้าใจหลักการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และแผนปฎิบัติการ
5.มีความเข้าใจความสัมพันธ์นโยบายรัฐบาลและท้องถิ่น
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวความคิดและวิธีการในการกำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนทฤษฏีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจการกำหนดนโยบายสาธารณะและแผนงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ การวิเคราะห์นโยบายและแผนระดับของแผนขั้นตอนของการวางแผน การนำแผนไปปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงาน ปัญหาและอุปสรรคในการกำหนดนโยบายและการวางแผนโดยเน้นศึกษานโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น
Public Policy and planning
อาจารย์สุรชัย เจนประโคน
ศศ0213 3(3 – 0 – 6)
วัตถุประสงค์
1.มีความรู้ ความเข้าใจความหมาย ขอบข่ายของการศึกษานโยบายสาธารณะ
2.มีความเข้าใจแนวความคิดและกระบวนการนโยบายสาธารณะ ด้านการกำหนดนโยบาย การนำนโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย
3.สามารถวิเคราะห์ และอธิบายปัจจัยที่เกี่ยวข้องการกำหนดนโยบาย การวิเคราะห์นโยบาย การนำนโยบายไปปฎิบัติ
4.มีความรู้ความเข้าใจหลักการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และแผนปฎิบัติการ
5.มีความเข้าใจความสัมพันธ์นโยบายรัฐบาลและท้องถิ่น
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวความคิดและวิธีการในการกำหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนทฤษฏีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจการกำหนดนโยบายสาธารณะและแผนงาน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการนำนโยบายไปปฏิบัติ การวิเคราะห์นโยบายและแผนระดับของแผนขั้นตอนของการวางแผน การนำแผนไปปฏิบัติ การประเมินผลการปฏิบัติตามแผนงาน ปัญหาและอุปสรรคในการกำหนดนโยบายและการวางแผนโดยเน้นศึกษานโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้องกับท้องถิ่น
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
สมบัติ ธำรงธัญวงค์.
2545. “นโยบายสาธารณะ แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ”
กรุงเทพมหานคร: สถาบัณบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
2539. “การเมืองกับการบริหาร.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. ปีที่ 36
ฉบับที่ 1
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร
2538. วาทกรรมกับการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2538. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2549. รัฐ – ชาติ (ความไร้) ระเบียบโลกชุดใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2544. รัฐศาสตร์แนววิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช.
2523. การเมืองกับการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
2549. อารยะขัดขืน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิ
โกมลคีมทอง.
สิทธิพันธ์ พุทธหุน
2543. แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
จิรโชค (บรรพต) วีระสัย
2546. รัฐศาสตร์ทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ.
2527. ตัวแบบกระบวนการการติดต่อสื่อสาร. เอกสารทางวิชาการ
หมายเลข 30, ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
ตุลาคม 2527
2543. สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: คณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จันทนี เจริญศรี
2545. Postmodern Sociology โพสต์โมเดิร์น สังคมวิทยา.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิทยา บวรวัฒนา.
2545. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฏีและแนวการศึกษา (ค.ศ.1970 – ค.ศ.
1980). พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
2545. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ.1887 – ค.ศ.
1970). พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
2545. ทฤษฏีองค์การสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรเดช จันทรศร.
2528. การนำนโยบายไปปฏิบัติ : การสำรวจกรอบความรู้โดยสังเขป.
พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ฟริตจ๊อฟ คาปร้า.
2529. จุดเปลี่ยนแห่งศตวรรษ : ทัศนแม่บทเพื่อการปฏิวัติวัฒนธรรม
แบบใหม่. พระประชาปสนมธมโนและคณะ, แปล 3 เล่ม.
กรุงเทพมหานคร.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา.
2534. แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
สมบัติ ธำรงธัญวงค์.
2545. “นโยบายสาธารณะ แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ”
กรุงเทพมหานคร: สถาบัณบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
2539. “การเมืองกับการบริหาร.” วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. ปีที่ 36
ฉบับที่ 1
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร
2538. วาทกรรมกับการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2538. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมรูปแบบใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2549. รัฐ – ชาติ (ความไร้) ระเบียบโลกชุดใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
2544. รัฐศาสตร์แนววิพากษ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช.
2523. การเมืองกับการบริหาร. กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์
2549. อารยะขัดขืน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธิ
โกมลคีมทอง.
สิทธิพันธ์ พุทธหุน
2543. แนวทางการศึกษารัฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
จิรโชค (บรรพต) วีระสัย
2546. รัฐศาสตร์ทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ.
2527. ตัวแบบกระบวนการการติดต่อสื่อสาร. เอกสารทางวิชาการ
หมายเลข 30, ศูนย์วิจัยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
ตุลาคม 2527
2543. สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: คณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จันทนี เจริญศรี
2545. Postmodern Sociology โพสต์โมเดิร์น สังคมวิทยา.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิทยา บวรวัฒนา.
2545. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฏีและแนวการศึกษา (ค.ศ.1970 – ค.ศ.
1980). พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
2545. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ.1887 – ค.ศ.
1970). พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
2545. ทฤษฏีองค์การสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร:
สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรเดช จันทรศร.
2528. การนำนโยบายไปปฏิบัติ : การสำรวจกรอบความรู้โดยสังเขป.
พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ฟริตจ๊อฟ คาปร้า.
2529. จุดเปลี่ยนแห่งศตวรรษ : ทัศนแม่บทเพื่อการปฏิวัติวัฒนธรรม
แบบใหม่. พระประชาปสนมธมโนและคณะ, แปล 3 เล่ม.
กรุงเทพมหานคร.
ฉัตรทิพย์ นาถสุภา.
2534. แนวคิดวัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ยินดีที่ได้รู้จัก ครับ
ตอบลบขอขอบคุณท่านอาจารย์ ที่ได้เติมเต็มความรู้ ถ่ายทอดวิชาความรู้ สู่ เราในรุ่นหลัง
ตอบลบขอบคุณองค์ความรู้ทางวิชาการ ต่างๆ ที่ได้เราได้มีความรู้ คิดวิพากษ์ ให้เราได้ดำเนินชีวิต ตามที่เราได้มุ่งหวัง ต่อไป